จากอดีตสู่ปัจจุบัน
เครื่องคำนวณในยุคประวัติศาสตร์
คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสูญญากาศ (พ.ศ.2488-2501)
คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (พ.ศ.2500-2507)
คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ.2508-2512)
คอมพิวเตอร์ยุควีแอลเอสไอ (พ.ศ.2513-2532)
คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย (พ.ศ.2533-ปัจจุบัน)
วันอาทิตย์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550
คอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์
ความหมายและความเป็นมา
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ย้อนรอยอดีต...คอมพิวเตอร์
กำเนิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการนำข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนรับข้อมูล
คีย์บอร์ด
เมาส์
สแกนเนอร์
บาร์โค๊ด
เครื่องอ่านบัตร (card reader)
เครื่องเจาะบัตรโดยใช้คอมพิวเตอร์
ส่วนควบคุมกลาง
เมนบอร์ด
กลไกการทำงานของซีพียู
ส่วนควบคุม
ส่วนคำนวณ
หน่วยความจำหลัก
รอม
แรม
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำแคชสำหรับดิสก์
เครื่องแถบแม่เหล็ก
ดิสก์ไดรว์
แผ่นบันทึก
ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ทำงานอย่างไร
จานแสง
ส่วนแสดงผล
จอภาพ
เทคโนโลยีจอภาพแสดงผล
เครื่องรับส่งแบบจอโทรทัศน์
เครื่องพิมพ์แบบจุด
เครื่องพิมพ์เลเซอร์
เครื่องพิมพ์ความเร็วสูง
PCL มาตรฐานภาษาสั่งงานเครื่องพิมพ์เลเซอร์
ความหมายของโมเด็ม
จตุรัสเทคโนโลยี : DSVD โมเด็มยุคใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่อง
10 ขั้นตอนในการใช้คอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ
การบำรุงรักษาเครื่องพีซี
ข้อพิจารณาในการเลือกซื้ออุปกรณ์ Input
การแก้ไขปัญหาทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมไมโครโปรเซสเซอร์
ประวัติความเป็นมาของไมโครโปรเซสเซอร์
สถาปัตยกรรมของ CPU Z-80
สถาปัตยกรรมของ CPU 8086
สถาปัตยกรรมทั่วไปของชิปตระกูลต่างๆที่น่าใจ
สถาปัตยกรรมของ Multitier Client Server
ไมโครโปรเซสเซอร์ 64 บิต
ซอฟท์แวร์
ซอฟต์แวร์ คืออะไร
ระบบปฏิบัติการ Window 95 คืออะไร
ระบบปฏิบัติการ DOS เป็นอย่างไร
การปรับแต่งเมาส์ให้ทำงานตามที่ต้องการ
การฟอร์แมตแผ่นดิสก์เก็ตบน Windows 95/98
Windows 98 กับ 25 ปัญหากวนใจ
Unix คืออะไร
Linux คืออะไร
Database Management
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คืออะไร
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คืออะไร
แนวทางในการสร้างโปรแกรมซ่อมเสริม
ความรู้เกี่ยวกับ Internet Proxy-Services
การสร้าง IMMCAI
การใช้โปรแกรม MS Gif Animator
การติดตั้งระบบเครือข่ายอย่างง่าย
เทคนิคการกู้ข้อมูลบนดิสก์ 3.5 นิ้ว
เลือกการบูตใน config.sys ให้ถูกใจ
สารพัน UNIX ตอน SA กับการรักษาความปลอดภัยข้อมูล
การสร้างเสียงที่ดีขึ้นจากลำโพงตัวเดิม
การพัฒนาซอฟแวร์ แบบออปเจ็กกับเทคโนโลยีเว็บ
ระบบสื่อสารข้อมูลและอุปกรณ์เครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับระบบสำนักงานอัตโนมัติ
การเชื่อมโยงระบบ UNIX กับระบบเครือข่าย DOS
ยูนิกซ์กับเน็ตเวอร์ก
รูปร่างเครือข่าย
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
การต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวกลางเชื่อมโยง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการต่อระหว่างเครือข่าย
เส้นใยแก้วนำแสง
เส้นใยแก้วนำแสง (fiber optic) คืออะไร
แสงสามารถเดินทางผ่านเส้นใยแก้วนำแสงได้อย่างไร
เส้นใยแก้วนำแสงสั้นหรือยาวเกินไป จะทำอย่างไร
แอดเดรสบนเครือข่าย
ชื่อและเลข IP
รู้จักกับบริดจ์ สวิตซ์ และเราเตอร์
NMS ระบบดูแลและบริหารเครือข่าย
เคเบิลใยแก้วใต้น้ำ
เครือข่ายความเร็วสูง
โทรศัพท์คอมพิวเตอร์
เมื่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กำลังจะเดินทาง เข้าภายในบ้าน
การเดินสายสื่อสารภายในอาคารตามมาตรฐานระบบเปิด
โปรโตคอลประยุกต์บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รู้จักกับไคล์เอ็นต์เซอร์ฟเวอร์
ไคลแอนต์ และ เซิร์ฟเวอร์
LAN โปรโตคอล
เครือข่าย LAN และ WAN
การเชื่อมโยงระหว่างเครือข่าย
Frame Relay
Frame Relay ทางเลือกใหม่ที่ไม่ควรมองข้าม
เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการด้วย Proxy Server
เครือข่ายความเร็วสูง Gigabit Ethernet
ADSL เทคโนโลยีที่จะพาสายคู่ตีเกลียวสู่ยุคทางด่วนข้อมูล
เทคโนโลยีอีเธอร์เน็ตสวิตชิงทิศทางของเครือข่ายแลน
SOHO กับเทคโนโลยีอีเธอร์เน็ต
นานาสาระกับVirtual Private Network
สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์สำหรับผู้บริหาร
มัลติมีเดียที่มาของการขยายเทคโนโลยีเครือข่าย
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
ทางด่วนข้อมูล รากฐานของการศึกษาทางไกล
วิทยุ ทีวี บนอินเทอร์เน็ต
สารสนเทศส่วนบุคคล ความจำเป็นของการใช้คอมพิวเตอร์
ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร โครงสร้างกำลังเปลี่ยนแปลง
ดิจิตอลไลบรารี่
การรักษาความปลอดภัยบนเครือข่าย
สอบสวนภูมิหลังอินเทอร์เน็ต
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ทำงานอย่างไร
กว่าจะมาเป็นไฟร์วอลล์
เมื่อทางด่วนข้อมูลข่าวสารกำลังเป็นจริงการประยุกต์ทีวีปฏิสัมพันธ์
Video CD ภาพกระตุก
ความปลอดภัยในเครือข่าย
จะไล่ตามจับเทคโนโลยีกันอย่างไรดี
วีดีโอออนดีมานด์
สมรรถนะเชิงเปรียบเทียบของชุมสายเอทีเอ็ม
การพัฒนารากฐานด้านไอทีในองค์กร
ไซเบอร์แคชระบบเงินอิเล็กทรอนิกส์
มาตรฐานการพิมพ์หนังสือดิจิตอล
แฮกเกอร์
Automatic ID ระบบเพื่องานธุรกิจ
รู้จักกับวิดีโอคอนเฟอเรนซ์
รู้จักกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ ATM
MPEG คืออะไร
ปรับแต่ง Windows 95 ให้อ่านไฟล์ได้เร็วขึ้น
เพิ่มความเร็วในการเรียกใช้เมนู Start
สมาร์ทการ์ด : บัตรอเนกประสงค์สำหรับวันนี้และอนาตต
การสื่อสารด้วยวิดีโอแบบปฏิสัมพันธ์
โกลบอล-คอมมิวนิเคชัน บนฐานอินเทอร์เน็ต
การพัฒนาซอฟต์แวร์แนวใหม่ ซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ
เราได้ประโยชน์อะไรจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอล
แก้การขาดแคลนแบนด์วิดธ์ในเน็ต ด้วย Optical Communication
ปัจจัยเริ่มต้นเมื่อเริ่มตั้งอินเทอร์เน็ตในองค์กร
Virtual Office และ Teleworking บนอินเทอร์เน็ต
Mobile Computing
ไอทีกับแนวโน้มโลก
นัยน์ตากับคอมพิวเตอร์
ความหมายและความเป็นมา
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ย้อนรอยอดีต...คอมพิวเตอร์
กำเนิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการนำข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนรับข้อมูล
คีย์บอร์ด
เมาส์
สแกนเนอร์
บาร์โค๊ด
เครื่องอ่านบัตร (card reader)
เครื่องเจาะบัตรโดยใช้คอมพิวเตอร์
ส่วนควบคุมกลาง
เมนบอร์ด
กลไกการทำงานของซีพียู
ส่วนควบคุม
ส่วนคำนวณ
หน่วยความจำหลัก
รอม
แรม
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำแคชสำหรับดิสก์
เครื่องแถบแม่เหล็ก
ดิสก์ไดรว์
แผ่นบันทึก
ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ทำงานอย่างไร
จานแสง
ส่วนแสดงผล
จอภาพ
เทคโนโลยีจอภาพแสดงผล
เครื่องรับส่งแบบจอโทรทัศน์
เครื่องพิมพ์แบบจุด
เครื่องพิมพ์เลเซอร์
เครื่องพิมพ์ความเร็วสูง
PCL มาตรฐานภาษาสั่งงานเครื่องพิมพ์เลเซอร์
ความหมายของโมเด็ม
จตุรัสเทคโนโลยี : DSVD โมเด็มยุคใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่อง
10 ขั้นตอนในการใช้คอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ
การบำรุงรักษาเครื่องพีซี
ข้อพิจารณาในการเลือกซื้ออุปกรณ์ Input
การแก้ไขปัญหาทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมไมโครโปรเซสเซอร์
ประวัติความเป็นมาของไมโครโปรเซสเซอร์
สถาปัตยกรรมของ CPU Z-80
สถาปัตยกรรมของ CPU 8086
สถาปัตยกรรมทั่วไปของชิปตระกูลต่างๆที่น่าใจ
สถาปัตยกรรมของ Multitier Client Server
ไมโครโปรเซสเซอร์ 64 บิต
ซอฟท์แวร์
ซอฟต์แวร์ คืออะไร
ระบบปฏิบัติการ Window 95 คืออะไร
ระบบปฏิบัติการ DOS เป็นอย่างไร
การปรับแต่งเมาส์ให้ทำงานตามที่ต้องการ
การฟอร์แมตแผ่นดิสก์เก็ตบน Windows 95/98
Windows 98 กับ 25 ปัญหากวนใจ
Unix คืออะไร
Linux คืออะไร
Database Management
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คืออะไร
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คืออะไร
แนวทางในการสร้างโปรแกรมซ่อมเสริม
ความรู้เกี่ยวกับ Internet Proxy-Services
การสร้าง IMMCAI
การใช้โปรแกรม MS Gif Animator
การติดตั้งระบบเครือข่ายอย่างง่าย
เทคนิคการกู้ข้อมูลบนดิสก์ 3.5 นิ้ว
เลือกการบูตใน config.sys ให้ถูกใจ
สารพัน UNIX ตอน SA กับการรักษาความปลอดภัยข้อมูล
การสร้างเสียงที่ดีขึ้นจากลำโพงตัวเดิม
การพัฒนาซอฟแวร์ แบบออปเจ็กกับเทคโนโลยีเว็บ
ระบบสื่อสารข้อมูลและอุปกรณ์เครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับระบบสำนักงานอัตโนมัติ
การเชื่อมโยงระบบ UNIX กับระบบเครือข่าย DOS
ยูนิกซ์กับเน็ตเวอร์ก
รูปร่างเครือข่าย
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
การต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวกลางเชื่อมโยง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการต่อระหว่างเครือข่าย
เส้นใยแก้วนำแสง
เส้นใยแก้วนำแสง (fiber optic) คืออะไร
แสงสามารถเดินทางผ่านเส้นใยแก้วนำแสงได้อย่างไร
เส้นใยแก้วนำแสงสั้นหรือยาวเกินไป จะทำอย่างไร
แอดเดรสบนเครือข่าย
ชื่อและเลข IP
รู้จักกับบริดจ์ สวิตซ์ และเราเตอร์
NMS ระบบดูแลและบริหารเครือข่าย
เคเบิลใยแก้วใต้น้ำ
เครือข่ายความเร็วสูง
โทรศัพท์คอมพิวเตอร์
เมื่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กำลังจะเดินทาง เข้าภายในบ้าน
การเดินสายสื่อสารภายในอาคารตามมาตรฐานระบบเปิด
โปรโตคอลประยุกต์บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รู้จักกับไคล์เอ็นต์เซอร์ฟเวอร์
ไคลแอนต์ และ เซิร์ฟเวอร์
LAN โปรโตคอล
เครือข่าย LAN และ WAN
การเชื่อมโยงระหว่างเครือข่าย
Frame Relay
Frame Relay ทางเลือกใหม่ที่ไม่ควรมองข้าม
เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการด้วย Proxy Server
เครือข่ายความเร็วสูง Gigabit Ethernet
ADSL เทคโนโลยีที่จะพาสายคู่ตีเกลียวสู่ยุคทางด่วนข้อมูล
เทคโนโลยีอีเธอร์เน็ตสวิตชิงทิศทางของเครือข่ายแลน
SOHO กับเทคโนโลยีอีเธอร์เน็ต
นานาสาระกับVirtual Private Network
สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์สำหรับผู้บริหาร
มัลติมีเดียที่มาของการขยายเทคโนโลยีเครือข่าย
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
ทางด่วนข้อมูล รากฐานของการศึกษาทางไกล
วิทยุ ทีวี บนอินเทอร์เน็ต
สารสนเทศส่วนบุคคล ความจำเป็นของการใช้คอมพิวเตอร์
ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร โครงสร้างกำลังเปลี่ยนแปลง
ดิจิตอลไลบรารี่
การรักษาความปลอดภัยบนเครือข่าย
สอบสวนภูมิหลังอินเทอร์เน็ต
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ทำงานอย่างไร
กว่าจะมาเป็นไฟร์วอลล์
เมื่อทางด่วนข้อมูลข่าวสารกำลังเป็นจริงการประยุกต์ทีวีปฏิสัมพันธ์
Video CD ภาพกระตุก
ความปลอดภัยในเครือข่าย
จะไล่ตามจับเทคโนโลยีกันอย่างไรดี
วีดีโอออนดีมานด์
สมรรถนะเชิงเปรียบเทียบของชุมสายเอทีเอ็ม
การพัฒนารากฐานด้านไอทีในองค์กร
ไซเบอร์แคชระบบเงินอิเล็กทรอนิกส์
มาตรฐานการพิมพ์หนังสือดิจิตอล
แฮกเกอร์
Automatic ID ระบบเพื่องานธุรกิจ
รู้จักกับวิดีโอคอนเฟอเรนซ์
รู้จักกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ ATM
MPEG คืออะไร
ปรับแต่ง Windows 95 ให้อ่านไฟล์ได้เร็วขึ้น
เพิ่มความเร็วในการเรียกใช้เมนู Start
สมาร์ทการ์ด : บัตรอเนกประสงค์สำหรับวันนี้และอนาตต
การสื่อสารด้วยวิดีโอแบบปฏิสัมพันธ์
โกลบอล-คอมมิวนิเคชัน บนฐานอินเทอร์เน็ต
การพัฒนาซอฟต์แวร์แนวใหม่ ซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ
เราได้ประโยชน์อะไรจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอล
แก้การขาดแคลนแบนด์วิดธ์ในเน็ต ด้วย Optical Communication
ปัจจัยเริ่มต้นเมื่อเริ่มตั้งอินเทอร์เน็ตในองค์กร
Virtual Office และ Teleworking บนอินเทอร์เน็ต
Mobile Computing
ไอทีกับแนวโน้มโลก
นัยน์ตากับคอมพิวเตอร์
ข้อความ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้อหาของเรื่องที่นำเสนอ ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่
- ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทั่วไป ได้จากการพิมพ์ด้วย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดยตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII
- ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทั่วไป ได้จากการพิมพ์ด้วย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดยตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII
- ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ Image ได้จากการนำเอกสารที่พิมพ์ไว้แล้ว (เอกสารต้นฉบับ) มาทำการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้ผลออกมาเป็นภาพ (Image) 1 ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ เป็นข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR
- ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความที่พัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ ที่ใช้ประมวลผลได้
- ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ (HyperText) เป็นรูปแบบของข้อความ ที่ได้รับความนิยมสูงมาก ในปัจจุบัน โดยเฉพาะการเผยแพร่เอกสารในรูปของเอกสารเว็บ เนื่องจากสามารถใช้เทคนิค การลิงก์ หรือเชื่อมข้อความ ไปยังข้อความ หรือจุดอื่นๆ ได้
เสียง (Sound)
เสียง เป็นอีกองค์ประกอบของมัลติมีเดีย อันจะช่วยให้เกิดบรรยากาศที่น่าสนใจในการรับรู้ทางหู โดยอาศัยจะนำเสนอในรูปของ เสียงประกอบ เพลงบรรเลง เสียงพูด เสียงบรรยาย หรือเสียงพากษ์ เป็นต้น
ลักษณะของเสียง ประกอบด้วย
เสียง เป็นอีกองค์ประกอบของมัลติมีเดีย อันจะช่วยให้เกิดบรรยากาศที่น่าสนใจในการรับรู้ทางหู โดยอาศัยจะนำเสนอในรูปของ เสียงประกอบ เพลงบรรเลง เสียงพูด เสียงบรรยาย หรือเสียงพากษ์ เป็นต้น
ลักษณะของเสียง ประกอบด้วย
คลื่นเสียงแบบออดิโอ (Audio) ซึ่งมีฟอร์แมตเป็น .wav, .au การบันทึกจะบันทึกตามลูกคลื่นเสียง โดยมีการแปลงสัญญาณให้เป็นดิจิทัล และใช้เทคโนโลยีการบีบอัดเสียงให้เล็กลง (ซึ่งคุณภาพก็ต่ำลงด้วย)
เสียง CD เป็นรูปแบบการบันทึก ที่มีคุณภาพสูง ได้แก่ เสียงที่บันทึกลงในแผ่น CD เพลงต่างๆ
MIDI (Musical Instrument Digital Interface) เป็นรูปแบบของเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ สามารถเก็บข้อมูล และให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ สร้างเสียงตามตัวโน้ต เสมือนการเล่นของเครื่องเล่นดนตรีนั้นๆ
เทคโนโลยีเกี่ยวกับเสียง ประกอบด้วย
การบันทึกข้อมูลเสียง
เสียงที่ทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่งมี 2 รูปแบบคือ
Synthesize Sound เป็นเสียงที่เกิดจากตัววิเคราะห์เสียง ที่เรียกว่า MIDI โดยเมื่อตัวโน้ตทำงาน คำสั่ง MIDI จะถูกส่งไปยัง Synthesize Chip เพื่อทำการแยกสียงว่าเป็นเสียงดนตรีชนิดใด ขนาดไฟล์ MIDI จะมีขนาดเล็ก เนื่องจากเก็บคำสั่งในรูปแบบง่ายๆ
Sound Data เป็นเสียงจากที่มีการแปลงจากสัญญาณ analog เป็นสัญญาณ digital โดยจะมีการบันทึกตัวอย่างคลื่น (Sample) ให้อยู่ที่ใดที่หนึ่งในช่วงของเสียงนั้นๆ และการบันทึกตัวอย่างคลื่นเรียงกันเป็นจำนวนมาก เพื่อให้มีคุณภาพที่ดี ก็จะทำให้ขนาดของไฟล์โตตามไปด้วย
Sample Rate จะแทนด้วย kHz ใช้อธิบายคุณภาพของเสียง อัตรามาตรฐานของ sample rate เท่ากับ 11kHz, 22kHz, 44kHz
Sample Size แทนค่าด้วย bits คือ 8 และ 16 บิท ใช้อธิบายจำนวนของข้อมูลที่ใช้จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ คุณภาพเสียงที่ดีที่สุด ได้แก่ Auido-CD ที่เท่ากับ 44kHz ระบบ 16 บิท เป็นต้น
- มาตรฐานการบีบอัดข้อมูล เสียงที่มีคุณภาพดี มักจะมีขนาดโต จึงต้องมีการบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง มาตรฐานการบีบอัดข้อมูล ได้แก่
ADPCM - Adaptive Differential Pulse Code Modulation โดยจะทำการบีบอัดข้อมูลที่มีการบันทึกแบบ 8 หรือ 16 บิท โดยมีอัตราการบีบอัดประมาณ 4:1 หรือ 2:1
u-law, A-law เป็นมาตรฐานที่กำหนดโดย CCITT สามารถบีบอัดเสียง 16 บิท ได้ในอัตรา 2:1
MACE มีจุดเด่นคือ บีบอัดและขยายข้อมูลให้มีขนาดเท่าเดิมได้ จึงใช้ได้เฉพาะข้อมูลเสียง 8 บิต อัตราการบีบอัดคือ 3:1 และ 6:1 อย่างไรก็ตามคุณภาพเสียงไม่ดีเท่าที่ควร และทำงานได้เฉพาะกับ Mac เท่านั้น
MPEG เป็นมาตรฐานการบีบอัดข้อมูลที่นิยมมากในปัจจุบัน โดยชื่อนี้ เป็นชื่อย่อของทีมงานพัฒนา Moving Picture Export Group โดยปัจจุบันมีฟอร์แมตที่นิยมคือ MP3 (MPEG 1 Audio Layer 3) ซึ่งก็คือเทคโนโลยีการบีบอัดข้อมูลเสียงของมาตรฐาน MPEG 1 นั่นเอง เป็นไฟล์ที่นิยมใช้กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย
เว็บไซต์ที่น่าสนใจ
Let's learn about "Sound Format"
Basics about MPEG Perceptual Audio Coding
Sound Format Glossary
MPEG Audio Layer-3
MPEG-2 AAC
MPEG-4
File-Format-Library : Sound
Sound eXchange
วิดีโอ (Video)
วิดีโอ นับเป็นสื่ออีกรูปหนึ่งที่นิยมใช้กับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เนื่องจากสามารถแสดงผลได้ทั้งภาพเคลื่อนไหว และเสียงไปพร้อมๆๆ กัน ทำให้เกิดความน่าสนใจในการนำเสนอ ทั้งนี้มีหัวข้อที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
Video file format
เป็นรูปแบบที่ใช้บันทึกภาพและเสียงที่สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้เลย มีหลายรูปแบบได้แก่
AVI (Audio / Video Interleave) เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เรียกว่า Video for Windows มีนามสกุลเป็น .avi ปัจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมาพร้อมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player
MPEG - Moving Pictures Experts Group รูปแบบของไฟล์ที่มีการบีบอัดไฟล์ เพื่อให้มีขนาดเล็กลง โดยใช้เทคนิคการบีบข้อมูลแบบ Inter Frame หมายถึง การนำความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละภาพมาบีบ และเก็บ โดยสามารถบีบข้อมูลได้ถึง 200 : 1 หรือเหลือข้อมูลเพียง 100 kb/sec โดยคุณภาพยังดีอยู่ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดย MPEG-1 มีนามสกุล คือ .mpg
Quick Time เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple นิยมใช้นำเสนอข้อมูลไฟล์ผ่านอินเทอร์เน็ต มีนามสกุลเป็น .mov
บทบาทของสื่อมัลติมีเดีย
เนื่องจากประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดีย ที่สามารนำเสนอเนื้อหาได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิทัศน์ และอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ประจวบเหมาะสมระบบติดต่อผู้ใช้ (GUI: Graphics User Interface) ที่ทำให้ผู้ใช้มีความสะดวกในการใช้งาน สร้างสรรค์งาน ทำให้บทบาทของสื่อฯ มีมากขึ้นตามลำดับ มีการนำสื่อมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ มากมาย เช่น การเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ การนำเสนอข้อมูล การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
ปัจจุบันเทคโนโลยีเครือข่ายและการสื่อสาร ยิ่งส่งเสริมให้การประยุกต์ใช้สื่อมัลติมีเดียได้รับการพัมนาอย่างกว้าง สามารถเผรแพร่ข้อมูลได้กว้างไกล และรวดเร็ว มีผู้คนตอบสนองการใช้สื่อมัลติมีเดียมากขึ้น สื่อการเรียนการสอนระบบมัลติมีเดียผ่านเว็บ, ระบบประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พร้อมๆ กับเทคโนโลยีที่ก้าวเกินกว่าจะคาดได้ถึง หรือไม่น่าเชื่อว่าจะเกิดขึ้นได้
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้งาน สามารถกระทำได้หลายลักษณะ ได้แก่
- ใช้สอนแทนผู้สอน ทั้งในและนอกห้องเรียน ทั้งระบบสอนแทน, บททบทวน และสอนเสริม
- ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนทางไกล ผ่านสื่อโทรคมนาคม เช่น ผ่านดาวเทียม เป็นต้น
- ใช้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อน ไม่สามารถแสดงข้องจริงได้ เช่น โครงสร้างของโมเลกุลของสาร
- เป็นสื่อช่วยสอน วิชาที่อันตราย โดยการสร้างสถานการณ์จำลอง เช่น การสอนขับเครื่องบิน การควบคุมเครื่องจักรกลขนาดใหญ่
- เป็นสื่อแสดงลำดับขั้น ของเหตุการณ์ที่ต้องการให้เห็นผลอย่างชัดเจน และช้า เช่น การทำงานของมอเตอร์รถยนต์ หรือหัวเทียน
- เป็นสื่อฝึกอบรมพนักงานใหม่ โดยไม่ต้องเสียเวลาสอนซ้ำหลายๆ หน
- สร้างมาตรฐานการสอน
ความหมายของมัลติมีเดีย
"มัลติมีเดีย (Multimedia) หรือ สื่อหลายแบบ" เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ สามารถผสมผสานกันระหว่าง ข้อความ ข้อมูลตัวเลข ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ไว้ด้วยกัน ตลอดจน การนำเอาระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ (Interactive) มาผสมผสานเข้าด้วยกัน
นอกจากนี้ มีผู้ให้นิยามศัพท์ไว้หลายท่าน ดังนี้
Robert Aston, Joyce Schwarz
Computer control of the combination of text, graphics, audio, video and animation data
Tay Vaughan
Multimedia is any combination of text, graphic, art, sound, animation and video that is delivered by computer. When you allow the user the viewer of the project to control what and when these elements are delivered, it is interactive multimedia. When the user can navigate, interactive multimedia becomes hypermedia
Nicholas Negroponte
True multimedia is interactive digital information which can be viewed in many different ways by the user. Moreover in multimedia, there does not have to be a trade-off between depth and breadth; the user can explore a topic as broadly and as deeply as she or he desires.
ประโยชน์ของมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนเรามากยิ่งขึ้น โดยมีประโยชน์ ดังนี้
- เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว
- นำเสนอข่าวสารในรูปแบบที่ไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับ เช่น บทเรียนมัลติมีเดีย
- สร้างสื่อเพื่อความบันเทิง
- สร้างสื่อโฆษณา หรือประชาสัมพันธ์
นอกจากประโยชน์ดังกล่าว เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ยังมีบทบาทต่อ
- การเรียนการสอน อันส่งผลให้เกิดระบบห้องสมุดแบบดิจิตอล (Digital Library) การเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) การสร้างห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom) และการเรียนการสอนแบบกระจาย อันส่งผลให้เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง
- ธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า E-Commerce อันจะช่วยให้การนำเสนอสินค้า มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม
- การสื่อสารโทรคมนาคม เนื่องด้วยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ต้องอาศัยสื่อเพื่อเผยแพร่ข้อมูล ดังนั้นเทคโนโลยีนี้ จึงมีความสัมพันธ์กับ ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม อย่างแยกกันได้ยากมาก
- ธุรกิจการพิมพ์ นับเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่สัมพันธ์กับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย อันจะส่งผลให้หนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ มีความน่าสนใจมากขึ้น และปัจจุบันก็มี E-Magazine หรือ E-Book ออกมาอย่างแพร่หลาย
- ธุรกิจการให้บริการข้อมูลข่าวสาร เมื่อมีการนำเทคโนโลยีมัลติมีเดียมาช่วย จะทำให้ข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่ออกไป มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม
- ธุรกิจโฆษณา และการตลาด แน่นอนว่ามีความสัมพันธ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อันจะช่วยดึงดูดคนเข้ามาชม ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มีความแปลกใหม่
- การแพทย์และสาธารณสุข ปัจจุบันมีการสร้างสื่อเรียนรู้ด้านการแพทย์ ช่วยให้ประชาชนทั่วไป มีความสนใจศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุขภาพตนเอง
- นันทนาการ นับเป็นบทบาทที่สำคัญมาก ทั้งในรูปของเกม การเรียนรู้ และ VR เป็นต้น
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
เนื่องจากมัลติมีเดีย เป็นเทคโนโลยีของสื่อหลากหลายสื่อ ซึ่งสามารถแบ่งได้ ดังนี้
- เทคโนโลยีเกี่ยวกับเสียง (Audio Technology) ซึ่งรวมทั้งเสียงพูด และเสียงดนตรี ตั้งแต่การประมวลผล การแสดงผล การจัดการต่างๆ เช่น การบีบอัดสัญญาณ การสื่อสาร การส่งสัญญาณ
- เทคโนโลยีเกี่ยวกับวีดิโอ (Video Technology) อันได้แก่ การจัดเก็บ การประมวลผล การปรับแต่ง การใช้งาน การเรียกหา สืบค้น การส่งกระจาย มาตรฐานการบีบอัดสัญญาณ การเข้าและถอดรหัส การส่งข้อมูล การทำงานร่วมกับสื่ออื่นๆ
- เทคโนโลยีรูปภาพ (Image Technology) เป็นการพัฒนา และประยุกต์ใช้ภาพ การจัดการฟอร์แมต คลังภาพ การค้นหา การสร้าง และตกแต่งภาพ
- เทคโนโลยีข้อความ (Text Technology) เกี่ยวกับข้อความหรือ ตัวอักษร ทั้งการใช้ และลักษณะรูปแบบของ ข้อความแบบต่างๆ
- เทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหว และภาพสามมิติ (Animation & 3D Technology) เป็น เทคโนโลยีเกี่ยวกับการแสดงผล ด้นภาพเคลื่อนไหว ทั้งแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การสร้างภาพเสมือนจริง (VR - Visual Reality) การสร้าง ตกแต่ง ประมวลผล การใช้งาน
- เทคโนโลยีการพัฒนา (Authoring System Technology) คือ เทคโนโลยีที่ได้พัฒนา เพื่อสร้างเครื่องมือสำหรับ งานพัฒนามัลติมีเดีย ในรูปของ ซอฟต์แวร์ช่วย ในการนำข้อมูล เนื้อหา (Content) เข้าไปเก็บตามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่วางไว้ เพื่อนำเสนอ เช่น การใช้เครื่องมือต่างๆ หรือการสร้างเครื่องมือใหม่ๆ
- เทคโนโลยีกับระบบการศึกษา เป็นการศึกษาเพื่อนำเอา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้กับ ระบบการศึกษา ในรูปของ CAI - Computer Aided Instruction, CBT - Computer Based Training ตลอดจนงานประชาสัมพันธ์ โฆษณา สร้างภาพยนตร์
- เทคโนโลยีการผลิต (Publishing Technology) เป็นการนำเอามัลติมีเดีย มาใช้ด้านงานพิมพ์ เพื่อเพิ่มชีวิตชีวาให้กับงานพิมพ์ มีรูปแบบที่โดดเด่น และนำเสนอ หรือพิมพ์ลงสื่อได้หลากรูปแบบ เช่น งาน DTP - Desktop Publishing, CD-ROM Title & Publishing
- เทคโนโลยีการกระจาย (Broadcasting & Conferencing) ส่งเกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูล เผยแพร่สัญญาณ เช่น Conference, Multicasting Backbone เป็นต้น
- เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล (Storage Technology) เนื่องด้วยข้อมูลด้านมัลติมีเดีย มักจะมีขนาดโต ทำให้ต้องเกี่ยวข้องกับสื่อบันทึกข้อมูลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งเกี่ยวกับรูปแบบของสื่อ รูปแบบการบีบอัดข้อมูล รูปแบบการบันทึกข้อมูล
- เทคโนโลยี WWW & HyperText โดยจะช่วยให้เกิดการเผยแพร่สื่อมัลติมีเดียในรูปแบบที่นิยมมากที่สุด และเร็วที่สุด ผ่านระบบ WWW และมีระบบโต้ตอบด้วยเทคโนโลยี HyperText & HyperMedia
- เทคโนโลยีคลังข้อมูล (Media Archives) ซึ่งเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลปริมาณมากๆ และการเรียกค้นภายหลัง เช่น Photo & Image Server, AVI archives
เทคโนโลยีที่กล่าวมาข้างต้น เป็นส่วนประกอบที่สำคัญกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ซึ่งจะช่วยให้เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีคุณค่า และเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง
การนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้งาน สามารถกระทำได้หลายลักษณะ ได้แก่
- ใช้สอนแทนผู้สอน ทั้งในและนอกห้องเรียน ทั้งระบบสอนแทน, บททบทวน และสอนเสริม
- ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนทางไกล ผ่านสื่อโทรคมนาคม เช่น ผ่านดาวเทียม เป็นต้น
- ใช้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อน ไม่สามารถแสดงข้องจริงได้ เช่น โครงสร้างของโมเลกุลของสาร
- เป็นสื่อช่วยสอน วิชาที่อันตราย โดยการสร้างสถานการณ์จำลอง เช่น การสอนขับเครื่องบิน การควบคุมเครื่องจักรกลขนาดใหญ่
- เป็นสื่อแสดงลำดับขั้น ของเหตุการณ์ที่ต้องการให้เห็นผลอย่างชัดเจน และช้า เช่น การทำงานของมอเตอร์รถยนต์ หรือหัวเทียน
- เป็นสื่อฝึกอบรมพนักงานใหม่ โดยไม่ต้องเสียเวลาสอนซ้ำหลายๆ หน
- สร้างมาตรฐานการสอน
ความหมายของมัลติมีเดีย
"มัลติมีเดีย (Multimedia) หรือ สื่อหลายแบบ" เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ สามารถผสมผสานกันระหว่าง ข้อความ ข้อมูลตัวเลข ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ไว้ด้วยกัน ตลอดจน การนำเอาระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ (Interactive) มาผสมผสานเข้าด้วยกัน
นอกจากนี้ มีผู้ให้นิยามศัพท์ไว้หลายท่าน ดังนี้
Robert Aston, Joyce Schwarz
Computer control of the combination of text, graphics, audio, video and animation data
Tay Vaughan
Multimedia is any combination of text, graphic, art, sound, animation and video that is delivered by computer. When you allow the user the viewer of the project to control what and when these elements are delivered, it is interactive multimedia. When the user can navigate, interactive multimedia becomes hypermedia
Nicholas Negroponte
True multimedia is interactive digital information which can be viewed in many different ways by the user. Moreover in multimedia, there does not have to be a trade-off between depth and breadth; the user can explore a topic as broadly and as deeply as she or he desires.
ประโยชน์ของมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนเรามากยิ่งขึ้น โดยมีประโยชน์ ดังนี้
- เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว
- นำเสนอข่าวสารในรูปแบบที่ไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับ เช่น บทเรียนมัลติมีเดีย
- สร้างสื่อเพื่อความบันเทิง
- สร้างสื่อโฆษณา หรือประชาสัมพันธ์
นอกจากประโยชน์ดังกล่าว เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ยังมีบทบาทต่อ
- การเรียนการสอน อันส่งผลให้เกิดระบบห้องสมุดแบบดิจิตอล (Digital Library) การเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) การสร้างห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom) และการเรียนการสอนแบบกระจาย อันส่งผลให้เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง
- ธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า E-Commerce อันจะช่วยให้การนำเสนอสินค้า มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม
- การสื่อสารโทรคมนาคม เนื่องด้วยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ต้องอาศัยสื่อเพื่อเผยแพร่ข้อมูล ดังนั้นเทคโนโลยีนี้ จึงมีความสัมพันธ์กับ ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม อย่างแยกกันได้ยากมาก
- ธุรกิจการพิมพ์ นับเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่สัมพันธ์กับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย อันจะส่งผลให้หนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ มีความน่าสนใจมากขึ้น และปัจจุบันก็มี E-Magazine หรือ E-Book ออกมาอย่างแพร่หลาย
- ธุรกิจการให้บริการข้อมูลข่าวสาร เมื่อมีการนำเทคโนโลยีมัลติมีเดียมาช่วย จะทำให้ข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่ออกไป มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม
- ธุรกิจโฆษณา และการตลาด แน่นอนว่ามีความสัมพันธ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อันจะช่วยดึงดูดคนเข้ามาชม ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มีความแปลกใหม่
- การแพทย์และสาธารณสุข ปัจจุบันมีการสร้างสื่อเรียนรู้ด้านการแพทย์ ช่วยให้ประชาชนทั่วไป มีความสนใจศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุขภาพตนเอง
- นันทนาการ นับเป็นบทบาทที่สำคัญมาก ทั้งในรูปของเกม การเรียนรู้ และ VR เป็นต้น
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
เนื่องจากมัลติมีเดีย เป็นเทคโนโลยีของสื่อหลากหลายสื่อ ซึ่งสามารถแบ่งได้ ดังนี้
- เทคโนโลยีเกี่ยวกับเสียง (Audio Technology) ซึ่งรวมทั้งเสียงพูด และเสียงดนตรี ตั้งแต่การประมวลผล การแสดงผล การจัดการต่างๆ เช่น การบีบอัดสัญญาณ การสื่อสาร การส่งสัญญาณ
- เทคโนโลยีเกี่ยวกับวีดิโอ (Video Technology) อันได้แก่ การจัดเก็บ การประมวลผล การปรับแต่ง การใช้งาน การเรียกหา สืบค้น การส่งกระจาย มาตรฐานการบีบอัดสัญญาณ การเข้าและถอดรหัส การส่งข้อมูล การทำงานร่วมกับสื่ออื่นๆ
- เทคโนโลยีรูปภาพ (Image Technology) เป็นการพัฒนา และประยุกต์ใช้ภาพ การจัดการฟอร์แมต คลังภาพ การค้นหา การสร้าง และตกแต่งภาพ
- เทคโนโลยีข้อความ (Text Technology) เกี่ยวกับข้อความหรือ ตัวอักษร ทั้งการใช้ และลักษณะรูปแบบของ ข้อความแบบต่างๆ
- เทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหว และภาพสามมิติ (Animation & 3D Technology) เป็น เทคโนโลยีเกี่ยวกับการแสดงผล ด้นภาพเคลื่อนไหว ทั้งแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การสร้างภาพเสมือนจริง (VR - Visual Reality) การสร้าง ตกแต่ง ประมวลผล การใช้งาน
- เทคโนโลยีการพัฒนา (Authoring System Technology) คือ เทคโนโลยีที่ได้พัฒนา เพื่อสร้างเครื่องมือสำหรับ งานพัฒนามัลติมีเดีย ในรูปของ ซอฟต์แวร์ช่วย ในการนำข้อมูล เนื้อหา (Content) เข้าไปเก็บตามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่วางไว้ เพื่อนำเสนอ เช่น การใช้เครื่องมือต่างๆ หรือการสร้างเครื่องมือใหม่ๆ
- เทคโนโลยีกับระบบการศึกษา เป็นการศึกษาเพื่อนำเอา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้กับ ระบบการศึกษา ในรูปของ CAI - Computer Aided Instruction, CBT - Computer Based Training ตลอดจนงานประชาสัมพันธ์ โฆษณา สร้างภาพยนตร์
- เทคโนโลยีการผลิต (Publishing Technology) เป็นการนำเอามัลติมีเดีย มาใช้ด้านงานพิมพ์ เพื่อเพิ่มชีวิตชีวาให้กับงานพิมพ์ มีรูปแบบที่โดดเด่น และนำเสนอ หรือพิมพ์ลงสื่อได้หลากรูปแบบ เช่น งาน DTP - Desktop Publishing, CD-ROM Title & Publishing
- เทคโนโลยีการกระจาย (Broadcasting & Conferencing) ส่งเกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูล เผยแพร่สัญญาณ เช่น Conference, Multicasting Backbone เป็นต้น
- เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล (Storage Technology) เนื่องด้วยข้อมูลด้านมัลติมีเดีย มักจะมีขนาดโต ทำให้ต้องเกี่ยวข้องกับสื่อบันทึกข้อมูลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งเกี่ยวกับรูปแบบของสื่อ รูปแบบการบีบอัดข้อมูล รูปแบบการบันทึกข้อมูล
- เทคโนโลยี WWW & HyperText โดยจะช่วยให้เกิดการเผยแพร่สื่อมัลติมีเดียในรูปแบบที่นิยมมากที่สุด และเร็วที่สุด ผ่านระบบ WWW และมีระบบโต้ตอบด้วยเทคโนโลยี HyperText & HyperMedia
- เทคโนโลยีคลังข้อมูล (Media Archives) ซึ่งเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลปริมาณมากๆ และการเรียกค้นภายหลัง เช่น Photo & Image Server, AVI archives
เทคโนโลยีที่กล่าวมาข้างต้น เป็นส่วนประกอบที่สำคัญกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ซึ่งจะช่วยให้เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีคุณค่า และเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง
โปรแกรมสำหรับพัฒนา CAI on Web
การพัฒนา CAI on Web มีจุดเด่นกว่าการพัฒนา CAI ในรูปแบบปกติ ก็คือ โปรแกรมที่นำมาใช้งานสามารถหาได้ฟรี หรือลงทุนไม่สูงมาก เมื่อเทียบกับการพัฒนาในรูปแบบปกติ เช่นโปรแกรมสร้างสื่อที่มีขาย ก็มีราคาสูงถึง 1 แสนบาทเป็นต้น โดยสามารถแบ่งประเภทของโปรแกรมที่นำมาใช้ในการพัฒนา CAI ได้ดังนี้
โปรแกรมสร้างงานกราฟิก (graphic Software) มีทั้งที่ให้ดาวน์โหลดฟรี เช่น Paint Shop หรือที่จะต้องซื้อมาใช้งาน Adobe PhotoShop, Corel Draw
โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation Software) เช่น Xara3D, Cool3D, Adobe Premirer, SnagIT, 3D-Studio Max
โปรแกรมสร้างสื่อ (Authoring Software) ได้แก่ ภาษา HTML, JavaScript, Java, PHP, ASP, Perl, HTML Generator
การเลือกโปรแกรมในการพัฒนานี้ จะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบสำคัญบางประการ ได้แก่
กลุ่มเป้าหมาย ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก จะต้องเน้นภาพกราฟิกเป็นพิเศษ ดังนั้นควรเลือกโปรแกรมที่เน้นสร้างภาพ 3 มิติ หรือภาพเคลื่อนไหว ในขณะที่ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษา อาจจะต้องเน้นเนื้อหาเป็นพิเศษ มีส่วนโต้ตอบ และสามารถจำลองสถาการณ์ต่างๆ ได้ ดังนั้นโปรแกรมที่เลือกใช้ ก็ควรเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง เช่น HTML, Java, JavaScript เป็นต้น
ลักษณะของสื่อ เนื่องจากสื่อ CAI มีหลายประเภท ดังนั้นการกำหนดประเภทของสื่อตั้งแต่แรกจะช่วยให้สามารถเลือกโปรแกรมได้ถูกต้อง เช่น ถ้าต้องการพัฒนาสื่อ CAI ในลักษณะ "บทเรียนทบทวน" ก็สามารถใช้โปรแกรมภาษา HTML หรือ HTML Gernrator มาสร้างสื่อได้เลย โดยไม่ต้องลงถึง Web Programming แต่ถ้าสื่ออยู่ในรูปของ "Testing" หรือ "Simulator" ก็จำเป็นต้องศึกษาภาษา Java เพื่อนำ Java มาใช้งาน เป็นต้น
เครื่องที่จำไปใช้งาน หากเครื่องที่จะนำไปใช้งานมี Spec. ต่ำอาจจะมีปัญหาได้ ตลอดถึงหากยังไม่มีการต่อระบบอินเทอร์เน็ต ก็จะประสบปัญหาได้เช่นกัน ทั้งนี้มีวิธีแก้ไขคือ สร้างสื่อ CAI ที่มีสองลักษณะ ได้แก่ สื่อแบบ Full Multimedia และสื่อแบบปกติ เช่น ถ้ามีการสร้างภาพเคลื่อนไหว สื่อแบบ Full Multimedia ก็อาจจะใช้ภาพเคลื่อนไหวแบบ AVI มานำเสนอ ในขณะที่สื่อแบบปกติก็อาจจะใช้ GIF animation มานำเสนอ ทั้งนี้ไม่ถือว่าเป็นการสร้างงานเพิ่มขึ้น เพราะโปรแกรมที่ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหว ต่างก็สามารถบันทึกได้ทั้งฟอร์แมต AVI และ GIF Animaiton
ระบบปฏิบัติการของเครื่องแม่ข่าย (Server) เนื่องจาก CAI on Web จะต้องเผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งต้องอาศัยเครื่องแม่ข่าย (Server) ดังนั้นก่อนที่จะเลือกโปรแกรมใดๆ มาใช้ในการสร้างสื่อ ควรจะต้องศึกษาถึงความเข้ากันได้ของโปรแกรม และระบบปฏิบัติการของเครื่องแม่ข่ายก่อน เช่น ถ้าระบบปฏิบัติของเครื่องแม่ข่ายเป็น Unix ควรเลือกภาษา PHP หรือ Perl ในการสร้างระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ และถ้าระบบปฏิบัติการเป็น Windows NT ก็สามารถเลือกใช้ ASP หรือ VB Script ได้ เป็นต้น
โปรแกรมแสดงผล (Browser) เช่นเดียวกับหัวข้อระบบปฏิบัติการของเครื่องแม่ข่าย ก่อนที่จะพัฒนาสื่อ จำเป็นต้องคำนึงถึงโปรแกรมแสดงผล หรือเบราเซอร์ด้วยเช่นกัน เพราะภาษา HTML ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสื่อ เป็นภาษาที่ยังไม่ตาย คือ ยังมีการพัฒนาคำสั่งใหม่ๆ อยู่เรื่องๆ และโปรแกรมเบราเซอร์ก็มีการพัฒนาการรู้จำคำสั่ง HTML แตกต่างกันออกไป ก่อนที่พัฒนาสื่อ ควรประเมินก่อนว่า ผู้เรียนส่วนมาก มีโปรแกรมเบราเซอร์ค่ายไหน รุ่นไหนใช้งานมากที่สุด เพื่อให้การแสดงผลบทเรียนได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องที่สุด
การแสดงผลภาษาไทย เนื่องจากภาษาไทย ยังเป็นปัญหาใหญ่ในการแสดงผลผ่านเว็บ ดังนั้นผู้พัฒนาสื่อจำเป็นต้องทราบเกี่ยวกับปัญหา และวิธีการป้องกันก่อนที่จะเกิดปัญหา โดยปัญหาเกี่ยวกับภาษาไทยที่เกิดขึ้นประกอบด้วย
การเข้ารหัสภาษาไทย หากกำหนดค่าการเข้ารหัสภาษาไทยไม่ถูกต้องจะทำให้ไม่สามารถแสดงผลบนเบราเซอร์ได้ หรืออาจจะได้แต่ไม่ครบถ้วน สำหรับค่ากำหนดเกี่ยวกับการเข้ารหัสภาษาไทย มี 2 ลักษณะได้แก่
ข้อความภาษาไทยที่พิมพ์ลงในเอกสารเว็บ (HTML File) เก็บในรูปของอักขระภาษาไทยที่ถูกต้อง ปัญหานี้มักจะเกิดกับการสร้างเอกสารเว็บด้วย HTML Generator เช่น Macromedia Dreamweaver หรือ Adobe GoLive
การกำหนดการเข้ารหัสผ่าน Tag META ดังนั้นจะต้องแก้ไข Tag META ในเอกสารเว็บ
ปัญหาการตัดคำภาษาไทย โปรแกรมเบราเซอร์ไม่มีฟังก์ชันในการตัดคำภาษาที่ถูกต้องตามอักขระภาษาไทย ดังนั้นผู้พัฒนาควรทำความเข้าใจกับผู้เรียนก่อนเสมอ
ทีมพัฒนา
การพัฒนาสื่อ CAI ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบปกติ หรือ on Web ต่างจำเป็นจะต้องมีทีมงานมาร่วมด้วยเสมอ เป็นการยากที่จะทำคนเดียว โดยทีมงานสำหรับพัฒนาสื่อ CAI on Web มีบุคลากรเพิ่ม ดังนี้
- ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา (Content Expert)
- นักการศึกษา (Educator)
- ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology Expert)
- โปรแกรมเมอร์ (Web Programmer)
- ผู้ดูแลและพัฒนาเว็บ (Web Master)
- ช่างศิลป์ (Graphic Designer)
ทั้งนี้หากการพัฒนาสื่อโดยจะต้องลงทุนจัดตั้งเครื่องแม่ข่าย และดูแลระบบเองทั้งหมด ก็จำเป็นจะต้องมี "ผู้ดูแลระบบ - Web System Administrator" ด้วย
ปัญหาของการพัฒนา
ไม่ว่าจะเป็น CAI แบบปกติ หรือ CAI on Web ต่างก็มีปัญหาในการพัฒนาทั้งสิ้น สำหรับ CAI on Web มีปัญหาสำคัญๆ ดังนี้
- ความพร้อมของระบบสื่อสาร
- ความเร็วของสัญญาณสื่อสาร
- ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการพัฒนาเว็บเพื่อสร้างสื่อ (ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ของคนไทย)
- ขาดการสร้างงานแบบทีม
- รัฐบาลและองค์กรต้นสังกัดด้านการศึกษา ไม่ให้การสนับสนุน
- หาช่างศิลป์มาช่วยงานได้ยาก
แนวทางการดำเนินการ
- ส่งเสริมการจัดทำเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ต
- สร้างต้นแบบของการประยุกต์ใช้งาน CAI
- สร้างศูนย์สนับสนุนการสร้างสื่อ CAI
- สร้างเครือข่ายสนับสนุนการสร้างสื่อ CAI
การพัฒนา CAI on Web มีจุดเด่นกว่าการพัฒนา CAI ในรูปแบบปกติ ก็คือ โปรแกรมที่นำมาใช้งานสามารถหาได้ฟรี หรือลงทุนไม่สูงมาก เมื่อเทียบกับการพัฒนาในรูปแบบปกติ เช่นโปรแกรมสร้างสื่อที่มีขาย ก็มีราคาสูงถึง 1 แสนบาทเป็นต้น โดยสามารถแบ่งประเภทของโปรแกรมที่นำมาใช้ในการพัฒนา CAI ได้ดังนี้
โปรแกรมสร้างงานกราฟิก (graphic Software) มีทั้งที่ให้ดาวน์โหลดฟรี เช่น Paint Shop หรือที่จะต้องซื้อมาใช้งาน Adobe PhotoShop, Corel Draw
โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation Software) เช่น Xara3D, Cool3D, Adobe Premirer, SnagIT, 3D-Studio Max
โปรแกรมสร้างสื่อ (Authoring Software) ได้แก่ ภาษา HTML, JavaScript, Java, PHP, ASP, Perl, HTML Generator
การเลือกโปรแกรมในการพัฒนานี้ จะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบสำคัญบางประการ ได้แก่
กลุ่มเป้าหมาย ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก จะต้องเน้นภาพกราฟิกเป็นพิเศษ ดังนั้นควรเลือกโปรแกรมที่เน้นสร้างภาพ 3 มิติ หรือภาพเคลื่อนไหว ในขณะที่ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษา อาจจะต้องเน้นเนื้อหาเป็นพิเศษ มีส่วนโต้ตอบ และสามารถจำลองสถาการณ์ต่างๆ ได้ ดังนั้นโปรแกรมที่เลือกใช้ ก็ควรเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง เช่น HTML, Java, JavaScript เป็นต้น
ลักษณะของสื่อ เนื่องจากสื่อ CAI มีหลายประเภท ดังนั้นการกำหนดประเภทของสื่อตั้งแต่แรกจะช่วยให้สามารถเลือกโปรแกรมได้ถูกต้อง เช่น ถ้าต้องการพัฒนาสื่อ CAI ในลักษณะ "บทเรียนทบทวน" ก็สามารถใช้โปรแกรมภาษา HTML หรือ HTML Gernrator มาสร้างสื่อได้เลย โดยไม่ต้องลงถึง Web Programming แต่ถ้าสื่ออยู่ในรูปของ "Testing" หรือ "Simulator" ก็จำเป็นต้องศึกษาภาษา Java เพื่อนำ Java มาใช้งาน เป็นต้น
เครื่องที่จำไปใช้งาน หากเครื่องที่จะนำไปใช้งานมี Spec. ต่ำอาจจะมีปัญหาได้ ตลอดถึงหากยังไม่มีการต่อระบบอินเทอร์เน็ต ก็จะประสบปัญหาได้เช่นกัน ทั้งนี้มีวิธีแก้ไขคือ สร้างสื่อ CAI ที่มีสองลักษณะ ได้แก่ สื่อแบบ Full Multimedia และสื่อแบบปกติ เช่น ถ้ามีการสร้างภาพเคลื่อนไหว สื่อแบบ Full Multimedia ก็อาจจะใช้ภาพเคลื่อนไหวแบบ AVI มานำเสนอ ในขณะที่สื่อแบบปกติก็อาจจะใช้ GIF animation มานำเสนอ ทั้งนี้ไม่ถือว่าเป็นการสร้างงานเพิ่มขึ้น เพราะโปรแกรมที่ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหว ต่างก็สามารถบันทึกได้ทั้งฟอร์แมต AVI และ GIF Animaiton
ระบบปฏิบัติการของเครื่องแม่ข่าย (Server) เนื่องจาก CAI on Web จะต้องเผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งต้องอาศัยเครื่องแม่ข่าย (Server) ดังนั้นก่อนที่จะเลือกโปรแกรมใดๆ มาใช้ในการสร้างสื่อ ควรจะต้องศึกษาถึงความเข้ากันได้ของโปรแกรม และระบบปฏิบัติการของเครื่องแม่ข่ายก่อน เช่น ถ้าระบบปฏิบัติของเครื่องแม่ข่ายเป็น Unix ควรเลือกภาษา PHP หรือ Perl ในการสร้างระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ และถ้าระบบปฏิบัติการเป็น Windows NT ก็สามารถเลือกใช้ ASP หรือ VB Script ได้ เป็นต้น
โปรแกรมแสดงผล (Browser) เช่นเดียวกับหัวข้อระบบปฏิบัติการของเครื่องแม่ข่าย ก่อนที่จะพัฒนาสื่อ จำเป็นต้องคำนึงถึงโปรแกรมแสดงผล หรือเบราเซอร์ด้วยเช่นกัน เพราะภาษา HTML ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสื่อ เป็นภาษาที่ยังไม่ตาย คือ ยังมีการพัฒนาคำสั่งใหม่ๆ อยู่เรื่องๆ และโปรแกรมเบราเซอร์ก็มีการพัฒนาการรู้จำคำสั่ง HTML แตกต่างกันออกไป ก่อนที่พัฒนาสื่อ ควรประเมินก่อนว่า ผู้เรียนส่วนมาก มีโปรแกรมเบราเซอร์ค่ายไหน รุ่นไหนใช้งานมากที่สุด เพื่อให้การแสดงผลบทเรียนได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องที่สุด
การแสดงผลภาษาไทย เนื่องจากภาษาไทย ยังเป็นปัญหาใหญ่ในการแสดงผลผ่านเว็บ ดังนั้นผู้พัฒนาสื่อจำเป็นต้องทราบเกี่ยวกับปัญหา และวิธีการป้องกันก่อนที่จะเกิดปัญหา โดยปัญหาเกี่ยวกับภาษาไทยที่เกิดขึ้นประกอบด้วย
การเข้ารหัสภาษาไทย หากกำหนดค่าการเข้ารหัสภาษาไทยไม่ถูกต้องจะทำให้ไม่สามารถแสดงผลบนเบราเซอร์ได้ หรืออาจจะได้แต่ไม่ครบถ้วน สำหรับค่ากำหนดเกี่ยวกับการเข้ารหัสภาษาไทย มี 2 ลักษณะได้แก่
ข้อความภาษาไทยที่พิมพ์ลงในเอกสารเว็บ (HTML File) เก็บในรูปของอักขระภาษาไทยที่ถูกต้อง ปัญหานี้มักจะเกิดกับการสร้างเอกสารเว็บด้วย HTML Generator เช่น Macromedia Dreamweaver หรือ Adobe GoLive
การกำหนดการเข้ารหัสผ่าน Tag META ดังนั้นจะต้องแก้ไข Tag META ในเอกสารเว็บ
ปัญหาการตัดคำภาษาไทย โปรแกรมเบราเซอร์ไม่มีฟังก์ชันในการตัดคำภาษาที่ถูกต้องตามอักขระภาษาไทย ดังนั้นผู้พัฒนาควรทำความเข้าใจกับผู้เรียนก่อนเสมอ
ทีมพัฒนา
การพัฒนาสื่อ CAI ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบปกติ หรือ on Web ต่างจำเป็นจะต้องมีทีมงานมาร่วมด้วยเสมอ เป็นการยากที่จะทำคนเดียว โดยทีมงานสำหรับพัฒนาสื่อ CAI on Web มีบุคลากรเพิ่ม ดังนี้
- ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา (Content Expert)
- นักการศึกษา (Educator)
- ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology Expert)
- โปรแกรมเมอร์ (Web Programmer)
- ผู้ดูแลและพัฒนาเว็บ (Web Master)
- ช่างศิลป์ (Graphic Designer)
ทั้งนี้หากการพัฒนาสื่อโดยจะต้องลงทุนจัดตั้งเครื่องแม่ข่าย และดูแลระบบเองทั้งหมด ก็จำเป็นจะต้องมี "ผู้ดูแลระบบ - Web System Administrator" ด้วย
ปัญหาของการพัฒนา
ไม่ว่าจะเป็น CAI แบบปกติ หรือ CAI on Web ต่างก็มีปัญหาในการพัฒนาทั้งสิ้น สำหรับ CAI on Web มีปัญหาสำคัญๆ ดังนี้
- ความพร้อมของระบบสื่อสาร
- ความเร็วของสัญญาณสื่อสาร
- ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการพัฒนาเว็บเพื่อสร้างสื่อ (ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ของคนไทย)
- ขาดการสร้างงานแบบทีม
- รัฐบาลและองค์กรต้นสังกัดด้านการศึกษา ไม่ให้การสนับสนุน
- หาช่างศิลป์มาช่วยงานได้ยาก
แนวทางการดำเนินการ
- ส่งเสริมการจัดทำเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ต
- สร้างต้นแบบของการประยุกต์ใช้งาน CAI
- สร้างศูนย์สนับสนุนการสร้างสื่อ CAI
- สร้างเครือข่ายสนับสนุนการสร้างสื่อ CAI
โฉมใหม่ของ CAI
CAI on Web จัดได้ว่าเป็นโฉมหน้าใหม่ของการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ โดยนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาผสมผสานกับ เทคโนโลยีการศึกษา และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เนื่องจากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมีลักษณะเฉพาะ คือ มีความสามารถในการนำเสนอข้อมูลผ่านระบบ World Wide Web ซึ่งมีจุดเด่น ดังนี้
The Web is a Graphical Hypertext Information System การนำเสนอข้อมูลผ่านเว็บ เป็นการนำเสนอด้วยข้อมูลที่สามารถเรียกหรือโยงไปยังจุดอื่นๆ ในระบบกราฟิก ซึ่งทำให้ข้อมูลนั้นๆ มีจุดดึงดูดให้น่าเรียกดู
The Web is Cross-Platform ข้อมูลบนเว็บไม่ยึดติดกับระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) เนื่องจากเป็นข้อมูลนั้นๆ ถูกจัดเก็บเป็น Text File ดังนั้นไม่ว่าจะถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ที่ใช้ OS เป็น Unix หรือ Windows NT ก็สามารถเรียกดูจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ OS ต่างจากคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่ายได้
The Web is Distributed ข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีปริมาณมากจากทั่วโลก และผู้ใช้จากทุกแห่งหนที่สามารถต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ตได้ ก็สามารถเรียกดูข้อมูลได้ตลอดเวลา ดังนั้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ตจึงสามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และกว้างไกล
The Web is interactive การทำงานบนเว็บเป็นการทำงานแบบโต้ตอบกับผู้ใช้โดยธรรมชาติอยู่แล้ว ดังนั้นเว็บจึงเป็นระบบ Interactive ในตัวมันเอง เริ่มตั้งแต่ผู้ใช้เปิดโปรแกรมดูผลเว็บ (Browser) พิมพ์ชื่อเรียกเว็บ (URL : Uniform Resource Locator) เมื่อเอกสารเว็บแสดงผลผ่านเบราเซอร์ ผู้ใช้ก็สามารถคลิกเลือกรายการ หรือข้อมูลที่สนใจ อันเป็นการทำงานแบบโต้ตอบไปในตัวนั่นเอง
ดังนั้นจึงมีการพัฒนา CAI ให้อยู่ในรูปแบบของการเผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีชื่อเรียกว่า WBI (Web Based Instruction) หรือ WBT (Web Based Training) นั่นเอง
ขบวนการพัฒนา CAI on Web มีลักษณะใกล้เคียงกับการพัฒนา CAI ในรูปแบบปกติ ซึ่งจะมีข้อแตกต่างกันในเรื่องของโปรแกรมที่ใช้งาน, ทีมงาน
CAI on Web จัดได้ว่าเป็นโฉมหน้าใหม่ของการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ โดยนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาผสมผสานกับ เทคโนโลยีการศึกษา และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เนื่องจากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมีลักษณะเฉพาะ คือ มีความสามารถในการนำเสนอข้อมูลผ่านระบบ World Wide Web ซึ่งมีจุดเด่น ดังนี้
The Web is a Graphical Hypertext Information System การนำเสนอข้อมูลผ่านเว็บ เป็นการนำเสนอด้วยข้อมูลที่สามารถเรียกหรือโยงไปยังจุดอื่นๆ ในระบบกราฟิก ซึ่งทำให้ข้อมูลนั้นๆ มีจุดดึงดูดให้น่าเรียกดู
The Web is Cross-Platform ข้อมูลบนเว็บไม่ยึดติดกับระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) เนื่องจากเป็นข้อมูลนั้นๆ ถูกจัดเก็บเป็น Text File ดังนั้นไม่ว่าจะถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ที่ใช้ OS เป็น Unix หรือ Windows NT ก็สามารถเรียกดูจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ OS ต่างจากคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่ายได้
The Web is Distributed ข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีปริมาณมากจากทั่วโลก และผู้ใช้จากทุกแห่งหนที่สามารถต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ตได้ ก็สามารถเรียกดูข้อมูลได้ตลอดเวลา ดังนั้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ตจึงสามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และกว้างไกล
The Web is interactive การทำงานบนเว็บเป็นการทำงานแบบโต้ตอบกับผู้ใช้โดยธรรมชาติอยู่แล้ว ดังนั้นเว็บจึงเป็นระบบ Interactive ในตัวมันเอง เริ่มตั้งแต่ผู้ใช้เปิดโปรแกรมดูผลเว็บ (Browser) พิมพ์ชื่อเรียกเว็บ (URL : Uniform Resource Locator) เมื่อเอกสารเว็บแสดงผลผ่านเบราเซอร์ ผู้ใช้ก็สามารถคลิกเลือกรายการ หรือข้อมูลที่สนใจ อันเป็นการทำงานแบบโต้ตอบไปในตัวนั่นเอง
ดังนั้นจึงมีการพัฒนา CAI ให้อยู่ในรูปแบบของการเผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีชื่อเรียกว่า WBI (Web Based Instruction) หรือ WBT (Web Based Training) นั่นเอง
ขบวนการพัฒนา CAI on Web มีลักษณะใกล้เคียงกับการพัฒนา CAI ในรูปแบบปกติ ซึ่งจะมีข้อแตกต่างกันในเรื่องของโปรแกรมที่ใช้งาน, ทีมงาน
สื่อ CAI
CAI กับการเรียนรู้ของคนไทย
CAI มาจากคำว่า "Computer Aided Instruction" หรือบางแหล่งอาจจะใช้คำว่า "Computer Assisted Insturction" โดยมีการใช้คำในภาษาไทยว่า "สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน" เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยนำเอาสื่อคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการนำเสนอเนื้อหา เรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ซึ่งก็คือ สามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้
จริงๆ แล้วคำว่า "คอมพิวเตอร์ช่วยสอน" ไม่ได้มีความหมายที่ CAI แต่ยังรวมถึงคำอื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ได้แก่
- CBT Computer Based Training
- CBE Computer Based Education
- CAL Computer Aissisted Learning
- CMI Computer Managed Instruction
- IMMCAI Interactive Multimedia CAI
ไม่ว่าจะเป็นคำใด ต่างก็มีลักษณะสำคัญ 4 ประการ ได้แก่
- Information ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ
- Individualized ต้องตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
- Interactive ต้องมีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับบทเรียนได้
- Immediate Feedback ต้องให้ผลย้อนกลับโดยทันที
เหตุผลสำคัญที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียนการสอน ในรูปของ CAI ได้แก่
เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว
ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ
ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน
ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป
ดังนั้นสามารถสรุปประโยชน์ของ CAI ได้ดังนี้
สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
ดึงดูดความสนใจ โดยใช้เทคนิคการนำเสนอด้วยกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียง สวยงามและเหมือนจริง
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้เร็ว ด้วยวิธีที่ง่ายๆ
ผู้เรียนมีการโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ และบทเรียนฯ มีโอกาสเลือก ตัดสินใจ และได้รับการเสริมแรงจากการได้รับข้อมูลย้อนกลับทันที
ช่วยให้ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ซึ่งจะเรียนรู้ได้จากขั้นตอนที่ง่ายไปหายากตามลำดับ
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความสนใจ และความสามารถของตนเอง บทเรียนมีความยืดหยุ่น สามารถเรียนซ้ำได้ตามที่ต้องการ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อคนเอง ต้องควบคุมการเรียนด้วยตนเอง มีการแก้ปัญหา และฝึกคิดอย่างมีเหตุผล
สร้างความพึงพอใจแก่ผู้เรียน เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียน
สามารถรับรู้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้อย่างรวดเร็ว เป็นการท้าทายผู้เรียน และเสริมแรงให้อยากเรียนต่อ
ให้ครูมีเวลามากขึ้นที่จะช่วยเหลือผู้เรียนในการเสริมความรู้ หรือช่วยผู้เรียนคนอื่นที่เรียนก่อน
ประหยัดเวลา และงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน โดยลดความจำเป็นที่จะต้องใช้ครูที่มีประสบการณ์สูง หรือเครื่องมือราคาแพง เครื่องมืออันตราย
ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในเมือง และชนบท เพราะสามารถส่งบทเรียนฯ ไปยังโรงเรียนชนบทให้เรียนรู้ได้ด้วย
CAI มาจากคำว่า "Computer Aided Instruction" หรือบางแหล่งอาจจะใช้คำว่า "Computer Assisted Insturction" โดยมีการใช้คำในภาษาไทยว่า "สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน" เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยนำเอาสื่อคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการนำเสนอเนื้อหา เรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ซึ่งก็คือ สามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้
จริงๆ แล้วคำว่า "คอมพิวเตอร์ช่วยสอน" ไม่ได้มีความหมายที่ CAI แต่ยังรวมถึงคำอื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ได้แก่
- CBT Computer Based Training
- CBE Computer Based Education
- CAL Computer Aissisted Learning
- CMI Computer Managed Instruction
- IMMCAI Interactive Multimedia CAI
ไม่ว่าจะเป็นคำใด ต่างก็มีลักษณะสำคัญ 4 ประการ ได้แก่
- Information ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ
- Individualized ต้องตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
- Interactive ต้องมีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับบทเรียนได้
- Immediate Feedback ต้องให้ผลย้อนกลับโดยทันที
เหตุผลสำคัญที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียนการสอน ในรูปของ CAI ได้แก่
เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว
ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ
ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน
ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป
ดังนั้นสามารถสรุปประโยชน์ของ CAI ได้ดังนี้
สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
ดึงดูดความสนใจ โดยใช้เทคนิคการนำเสนอด้วยกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียง สวยงามและเหมือนจริง
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้เร็ว ด้วยวิธีที่ง่ายๆ
ผู้เรียนมีการโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ และบทเรียนฯ มีโอกาสเลือก ตัดสินใจ และได้รับการเสริมแรงจากการได้รับข้อมูลย้อนกลับทันที
ช่วยให้ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ซึ่งจะเรียนรู้ได้จากขั้นตอนที่ง่ายไปหายากตามลำดับ
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความสนใจ และความสามารถของตนเอง บทเรียนมีความยืดหยุ่น สามารถเรียนซ้ำได้ตามที่ต้องการ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อคนเอง ต้องควบคุมการเรียนด้วยตนเอง มีการแก้ปัญหา และฝึกคิดอย่างมีเหตุผล
สร้างความพึงพอใจแก่ผู้เรียน เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียน
สามารถรับรู้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้อย่างรวดเร็ว เป็นการท้าทายผู้เรียน และเสริมแรงให้อยากเรียนต่อ
ให้ครูมีเวลามากขึ้นที่จะช่วยเหลือผู้เรียนในการเสริมความรู้ หรือช่วยผู้เรียนคนอื่นที่เรียนก่อน
ประหยัดเวลา และงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน โดยลดความจำเป็นที่จะต้องใช้ครูที่มีประสบการณ์สูง หรือเครื่องมือราคาแพง เครื่องมืออันตราย
ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในเมือง และชนบท เพราะสามารถส่งบทเรียนฯ ไปยังโรงเรียนชนบทให้เรียนรู้ได้ด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)